BMAT ยื่นที่ไหนได้บ้าง?

BMAT หรือ Biomedical Admission Test คือ ข้อสอบภาษาอังกฤษเฉพาะทางสำหรับผู้ที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในคณะสายการแพทย์ โดยมี Cambridge Assessment เป็นผู้ดำเนินการจัดสอบ BMAT จะเปิดสอบครั้งสุดท้ายในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2566 นี้นั่นเอง น้อง ๆ ว่าที่นิสิตนักศึกษารหัส 67 ในคณะสายการแพทย์ BMAT ยังมีความสำคัญกับน้อง ๆ อยู่นะคะ อย่าพลาดการสอบครั้งนี้ ที่จะเริ่มเปิดรับสมัครในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2566 เหลือเวลาเตรียมตัว เตรียมฟิต เตรียมติว BMAT อยู่ ในบทความนี้ The Planner เลยรวบรวม Requirement ของหลักสูตรที่ยังใช้คะแนน BMAT มาให้น้อง ๆ แล้วค่ะ คะแนน BMAT ไม่ได้ยื่นได้แค่คณะสายการแพทย์ หลักสูตรอินเตอร์เท่านั้น แต่คะแนน BMAT ยังมีความสำคัญต่อการยื่น TCAS รอบ 1 หรือรอบ Portfolio ของคณะสายการแพทย์[...]

BMAT ปี 2023 ยังมีสอบอยู่ไหม พร้อมตารางสอบ BMAT ปี 2023

หลังจากที่มีประกาศออกมาอย่างเป็นทางการว่า ในปี 2024 การสอบ BAMT จะยกเลิก ทำให้น้อง ๆ หลายคนที่กำลังจะเตรียมตัวยื่นคณะสายการแพทย์ในรอบ Portfolio หรือน้อง ๆ ที่กำลังเตรียมยื่นคณะสายแพทย์ หลักสูตรนานาชาติ ต่างตกใจ และช็อกไปตาม ๆ กัน ว่าแล้วเราควรทำยังไงต่อไป ต้องสอบหรือใช้คะแนนส่วนไหนแทนดี The Planner ขอให้น้องหยุดกังวลกันไปก่อน เพราะน้อง ๆ #DEK67 ที่จะเข้าคณะสายการแพทย์ ทุกอย่างยังคงเดิม เพราะ”ในปี 2023 การสอบ BMAT ยังคงมี และยังไม่ได้ยกเลิกการสอบไปค่ะ” BMAT คืออะไร BMAT ย่อมาจาก The Biomedical Admissions Test ดำเนินการจัดการสอบโดย Cambridge Assessment Admissions Testing, University of Cambridge เป็นข้อสอบเฉพาะทางสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อคณะแพทยศาสตร์ ทันแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ และเภสัชศาสตร์ ในหลายประเทศทั่วโลกต่างก็ใช้ BMAT เป็นตัวช่วยคัดนักศึกษาเข้าศึกษาต่อในคณะสายการแพทย์ ประเทศไทยเองก็เช่นกัน รู้จักการสอบ BMAT ให้มากขึ้นใน อยากเป็นหมอ ต้องรู้ก่อนสอบ! รวม Tips[...]

BMAT vs กสพท ต่างกันยังไง

เพราะคำว่า “โอกาส” ไม่ได้มาเคาะหน้าประตูบ้านทุกวัน โอกาสความเป็นไปได้ในการสอบติดก็เช่นกัน น้อง ๆ สามารถเปิดโอกาสและสร้างหนทางให้ตัวเองได้ โดยการใช้ทุกโอกาสและความเป็นไปได้ทุกอย่างที่จะทำให้น้อง ๆ บรรลุเป้าหมาย น้อง ๆ ว่าที่นิสิตนักศึกษาคณะสายแพทย์ มันจะดีกว่าไหมหากน้อง ๆ มีโอกาสสอบติดคณะสายแพทย์นอกจากรอบการสอบกสพท.เพียงอย่างเดียว อีกหนึ่งการสอบที่สามารถเพิ่มโอกาสที่น้องจะสอบติดคณะสายการแพทย์ได้ เรียกว่า การสอบ BMAT วันนี้ The Planner จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักข้อแตกต่างระหว่างการสอบ BMAT และการสอบกสพท.กันค่ะ Consult a Personalised Tutoring Click Here BMAT คืออะไร BMAT ย่อมาจาก Biomedical Admission Test คือ ข้อสอบภาษาอังกฤษเฉพาะทางสำหรับผู้ที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในคณะสายการแพทย์ ไม่ว่าจะเป็นแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ หรือเภสัชศาสตร์ โดยมี Cambridge Assessment เป็นผู้ดำเนินการจัดสอบ BMAT ก็คือการรับเข้ารอบ 1 หรือรอบ[...]

หลักสูตรแพทย์อินเตอร์ในประเทศไทย เปิดสอนที่ไหนบ้าง?

“คณะแพทยศาสตร์” นับเป็นคณะแรก ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วโลกที่มีเกณฑ์การรับเข้าศึกษาที่โหดที่สุด เนื่องด้วยเป็นอาชีพที่เมื่อเรียนจบไปแล้ว จะต้องใช้ทักษะในหลาย ๆ ด้านเพื่อทำการรักษาอาการและดูแลสุขภาพของผู้ป่วย สำหรับประเทศไทยเองนั้น คณะแพทยศาสตร์ หลักสูตรภาษาไทย ได้มีการเปิดสอนในหลาย ๆ มหาวิทยาลัยแล้วทั่วประเทศ ในวันนี้ The Planner อยากพาน้อง ๆ มาสัมผัสในมุมของ “คณะแพทยศาสตร์ หลักสูตรที่เป็นนานาชาติ หรือแบบอินเตอร์” ว่ามีเปิดสอนที่ไหนในประเทศไทยบ้าง? แล้วแต่ละหลักสูตรจะมีจุดเด่นหรือข้อแต่ต่างกันอย่างไร ตาม The Planner มาดูกันได้เลย Consult a Personalised Tutoring Click Here Chulalongkorn University หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) หรือ CU-MEDi จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากจะขึ้นชื่อในหลักสูตรภาคไทยแล้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้ยังมีหลักสูตรภาคอินเตอร์ที่น่าสนใจไม่แพ้กัน โดยความน่าสนใจของหลักสูตรนี้ คือ นักเรียนสามารถเรียนจบแพทย์ได้ภายในระยะเวลาแค่ 4 ปี เท่านั้น ซึ่งต่างจากหลักสูตรแพทยศาสตร์ในแบบปกติ ที่ต้องเรียนกันถึง 6 ปี และมีโอกาสไปฝึกงานในต่างประเทศด้วย[...]

#DEK66 ว่าที่ลูกแม่โดม เปิดเกณฑ์คะแนน ธรรมศาสตร์ อินเตอร์ 2566

นักเรียนไทยหลายคนยกให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ใฝ่ฝัน เพราะว่าประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และการันตีคุณภาพด้วยความสำเร็จของบัณฑิตหลายคน แล้วน้อง ๆ ล่ะ สนใจที่จะสมัครมาเป็นว่าที่ลูกแม่โดมกันไหมคะ ในบทความนี้ The Planner สรุปเกณฑ์คะแนนที่ใช้ในการยื่นเข้าศึกษาต่อในคณะหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2566 ไว้เรียบร้อยแล้วค่ะ มาดูกันเลย Consult a Personalised Tutoring Click Here คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง (Faculty of Architecture and Planning) Design, Business & Technology Management English program (DBTM) : หลักสูตรการจัดการและการออกแบบธุรกิจและเทคโนโลยี Inter Portfolio 1.2 รับจำนวน 73 คน รับสมัครวันที่ 14 – 29 ธันวาคม พ.ศ.2565 คะแนนภาษาอังกฤษ (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง) –  TOEFL (PBT)[...]

อยากเป็นหมอ ต้องรู้ก่อนสอบ! รวม Tips BMAT แต่ละพาร์ทที่ไม่ควรพลาด

เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าเนื้อหาการสอบ BMAT สำหรับน้อง ๆ เตรียมยื่นคณะแพทย์ เป็นอะไรที่ปราบเซียนและต้องใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์สูง ดังนั้นใครที่กำลังเตรียมตัวสอบข้อสอบชนิดนี้ รีบมาอ่านบทความนี้ก่อนให้จบ พี่ The Planner สถาบันติวสอบ BMAT รวมเกร็ดความรู้เพื่อเพิ่มคะแนนสอบครบทั้ง 3 พาร์ท พร้อมเนื้อหาที่น้อง ๆ ควรรู้ก่อนสอบมาให้แล้ว ทั้งหมดจะมีอะไรบ้าง ไปดูพร้อมกันได้เลย BMAT ทางเลือกสอบเข้าแพทย์กับโอกาสที่มากกว่าBMAT ย่อมาจากภาษาอังกฤษเต็มที่ชื่อว่า The BioMedical Admissions Test จัดทำโดย Cambridge Assessment Admissions Testing, University of Cambridge เป็นการสอบเฉพาะทางสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อคณะแพทยศาสตร์, ทันแพทยศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ น้อง ๆ ที่อยากเข้าคณะสายแพทย์ จะสามารถใช้คะแนน BMAT ในการสอบเข้าแพทย์ได้ตั้งแต่รอบ Portfolio (TCAS1) โดยไม่ต้องสอบ กสพท. ซึ่งจะเพิ่มโอกาสในการยื่นติดแพทย์เร็วขึ้น และมีคู่แข่งในการสอบเข้าแพทย์ที่น้อยกว่า ทั้งนี้ แต่ละสถาบันที่เปิดรับพิจารณาคะแนน BMAT[…]

BMAT ใช้ยื่นเภสัชที่ไหนได้บ้าง

การติวBMATนอกจากสำคัญต่อการใช้ยื่นศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในคณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ ภาคอินเตอร์แล้ว การติวBMATยังสำคัญกับคณะเภสัชศาสตร์อีกด้วยค่ะ แล้วเภสัชกรเนี่ยน้อง ๆ รู้กันไหมคะว่ามีหน้าที่อะไรบ้าง แล้วที่ไทยมีคณะนี้ภาคอินเตอร์ที่ไหนบ้าง บทความนี้จะพาน้อง ๆ ไปหาคำตอบของทั้งสองคำถามนี้กันค่ะ เภสัชกรอีกหนึ่งในอาชีพสำคัญในวงการแพทย์ ทว่าเภสัชกรสามารถทำงานอย่างอื่นได้อีก นอกจากการทำงานในโรงพยาบาล คลินิก  หรือร้านขายยา เนื่องจากในปัจจุบันยาเป็นที่ต้องการในวงการต่าง ๆ มากมายทั้งวงการแพทย์แผนปัจจุบัน วงการแพทย์แผนโบราณ วงการอุตสาหกรรม วงการอาหาร ฯลฯ ตัวอย่างงานของเภสัชกรตามวงการต่าง ๆ เช่น แจกจ่ายยาให้คนไข้  นักวิจัย คิดค้นตัวยาสูตรใหม่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ยา ขึ้นทะเบียนตัวยากับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ตรวจสอบร้านยาและยาว่าได้มาตรฐานไหม เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ผู้แทนยา จัดซื้อและดูแลคลังยาในโรงพยาบาล นักวิชาการ อาจารย์ ฯลฯ น้องเห็นกันไหมคะว่าอาชีพเภสัชกรเป็นอะไรได้อีกเยอะ หากน้องอยากเป็นเภสัชกรแต่ไม่อยากทำงานในโรงพยาบาล ก็ผันตัวไปทำในองค์กรเอกชนได้เหมือนกัน ส่วนวันนี้จะมาแนะนำคณะเภสัชศาสตร์ภาคอินเตอร์จากสองสถาบัน คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะเภสัชศาสตร์ หลักสูตรนานาชาติ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลัยแรกในไทยที่เปิดสอนหลักสูตรนี้ หลักสูตรนี้เหมาะกับน้อง ๆ ที่ชอบเรียนภาษาอังกฤษแต่ก็ยังอยากเป็นเภสัชกรอยู่ เรียกได้ว่าหลักสูตรนี้ตอบโจทย์ของน้องเลยค่ะ[…]